อัตราค่าไฟฟ้า
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัยประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่
ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง
ประเภทที่ 6 ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร
ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว
ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า ของ กฟภ.
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
อัตรารายเดือน |
ค่าพลังงานไฟฟ้า |
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 1.8632 บาท |
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.5026 บาท |
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 2.7549 บาท |
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) หน่วยละ 3.1381 บาท |
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) หน่วยละ 3.2315 บาท |
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 3.7362 บาท |
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 3.9361 บาท |
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 8.19 |
1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
อัตรารายเดือน |
ค่าพลังงานไฟฟ้า |
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 1.8632 บาท |
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) หน่วยละ 2.7628 บาท |
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 3.7362 บาท |
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 3.9361 บาท |
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 38.22 |
1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | |||
ค่าพลังงานไฟฟ้า | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | |
On Peak | Off Peak | ||
1.3.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ | 4.5827 | 2.1495 | 312.24 |
1.3.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 5.2674 | 2.1827 | 38.22 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือนติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.1 ตามเดิม
- ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.2 ตลอดไป
- ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้อัตราข้อ 1.3 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือ ชาระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราเดิมได้
- สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้
- ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
- ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 (ประเภทที่ 1 อัตราข้อ 1.1) ซึ่งติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5(15)แอมแปร์ และใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับค่าไฟฟ้าฟรีทั้งหมดในเดือนนั้น
ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรืออื่นๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
2.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) |
2.1.1 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์ | 3.4230 | 312.24 |
2.1.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 46.16 | |
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) | 2.7628 | |
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) | 3.7362 | |
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) | 3.9361 |
2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | |
On Peak | Off Peak | ||
2.2.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ | 4.5827 | 2.1495 | 312.24 |
2.2.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 5.2674 | 2.1827 | 46.16 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 2 นี้ หากในรอบเดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30กิโลวัตต์ขึ้นไป จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 อัตราข้อ 3.2 ประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 หรือประเภทที่ 5 อัตราข้อ 5.2 แล้วแต่กรณี และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 2 ต่อเมื่อความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวลดลงต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 2.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือ ชาระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 2.1 ตามเดิมได้
- ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติและสถานที่ทางการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 30 ถึง 999
กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
3.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) |
3.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 175.70 | 2.6506 | 312.24 |
3.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 196.26 | 2.6880 | 312.24 |
3.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 221.50 | 2.7160 | 312.24 |
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Off Peak | On Peak | Off Peak | ||
3.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 74.14 | 0 | 3.5982 | 2.1572 | 312.24 |
3.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 132.93 | 0 | 3.6796 | 2.1760 | 312.24 |
3.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 210.00 | 0 | 3.8254 | 312.24 | 2.2092 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 3.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 3.1 สาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 3.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
- ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป ในเดือนใด หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะถูกจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 3.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้
- ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 3.2 เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์
- ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทาการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือ มีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Tariff : TOD Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Partial Peak | Off Peak | |||
4.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 224.30 | 29.91 | 0 | 2.6506 | 312.24 |
4.1.2 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์ | 285.05 | 58.88 | 0 | 2.6880 | 312.24 |
4.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 332.71 | 68.22 | 0 | 2.7160 | 312.24 |
On Peak : เวลา 18.30 - 21.30 น. Partial Peak : เวลา 08.00 - 18.30 น.ของทุกวัน คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าเฉพาะส่วนที่เกินจากช่วง On Peak Off Peak : เวลา 21.30 - 08.00 น. ข องทุกวัน ไม่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Off Peak | Peak | Off Peak | ||
4.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 74.14 | 0 | 3.5982 | 2.1572 | 312.24 |
4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 132.93 | 0 | 3.6796 | 2.1760 | 312.24 |
4.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 210.00 | 0 | 3.8254 | 2.2092 | 312.24 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 4.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 4.1
สาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 4.2 ใน
เดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว - ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 4.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 4.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับ
การไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้ - ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา
12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 - ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบกิจการโรงแรมและกิจการให้เช่าพักอาศัย ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
5.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) |
5.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 220.56 | 2.6506 | 312.24 |
5.1.2 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ | 256.07 | 2.6880 | 312.24 |
5.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 276.64 | 2.7160 | 312.24 |
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
5.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Off Peak | Peak | Off Peak | ||
5.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 74.14 | 0 | 3.5982 | 2.1572 | 312.24 |
5.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 132.93 | 0 | 3.6796 | 2.1760 | 312.24 |
5.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 210.00 | 0 | 3.8254 | 2.2092 | 312.24 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 5 จะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เท่านั้น ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้
คิดค่าไฟฟ้าในอัตราข้อ 5.1 ไปพลางก่อน - ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12
เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เมื่อมีความต้องการ
พลังไฟฟ้าดังกล่าว ตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป - ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
ประเภทที่ 6 ส่วนราชการ และองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าขององค์กรที่มีวัตถุประสงค์ในการให้บริการโดยไม่คิดค่าตอบแทน รวมถึงสถานที่ที่ใช้ในการประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียวแต่ไม่รวมถึงหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการ
ของต่างชาติ และสถานที่ทาการขององค์การระหว่างประเทศ
6.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) |
6.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 2.9558 | 312.24 |
6.1.2 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ | 3.1258 | 312.24 |
6.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 20.00 | |
10 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-10) | 2.3422 | |
เกินกว่า 10 หน่วย (หน่วยที่ 11 เป็นต้นไป) | 3.4328 |
6.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Off Peak | Peak | Off Peak | ||
6.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป | 74.14 | 0 | 3.5982 | 2.1572 | 312.24 |
6.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 132.93 | 0 | 3.6796 | 2.1760 | 312.24 |
6.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 210.00 | 0 | 3.8254 | 2.2092 | 312.24 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 6.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 6.1 ตามเดิมได้
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.2 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
- สาหรับการใช้ไฟฟ้าของหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง อนุโลมให้ จัดอยู่ประเภทที่ 6 จนถึงค่าไฟฟ้าประจาเดือนกันยายน 2555 หากผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่
ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจาเดือนตุลาคม 2555 เป็นต้นไป จะจัดเข้าในประเภทที่2 หรือประเภทที่ 3 อัตราข้อ 3.2 หรือประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 แล้วแต่กรณี ตามลักษณะการใช้ไฟฟ้า
ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้ากับเครื่องสูบน้าเพื่อการเกษตรของหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มเกษตรกรที่ทางราชการรับรอง หรือสหกรณ์เพื่อการเกษตรโดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
7.1 อัตราปกติ
อัตรารายเดือน | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) |
100 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-100) | 1.6033 |
เกินกว่า 100 หน่วย (หน่วยที่ 101 เป็นต้นไป) | 2.7549 |
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 115.16 |
7.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)
อัตรารายเดือน | ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) | ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) | ค่าบริการ (บาท/เดือน) | ||
On Peak | Off Peak | Peak | Off Peak | ||
7.2.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ | 132.93 | 0 | 3.6531 | 2.1495 | 228.17 |
7.2.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ | 210.00 | 0 | 3.7989 | 2.1827 | 228.17 |
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์ : เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย) |
ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
หมายเหตุ
- ผู้ใช้ไฟฟ้าต้องมีเครื่องสูบน้าที่มีแรงม้ารวมกันไม่ต่ากว่า 25 แรงม้า และต้องทาสัญญากับการไฟฟ้านครหลวงก่อน
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 7.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนสามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 7.1 ตามเดิมได้
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
- ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.2 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว |
ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าชั่วคราว เพื่อใช้ในการก่อสร้างอาคารทั่วไป หรือสิ่งปลูกสร้าง การจัดงานขึ้น เป็นกรณีพิเศษชั่วคราว หรือการใช้ในกรณีต่างๆ เป็นการชั่วคราว โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว
ค่าพลังงานไฟฟ้า (ทุกระดับแรงดัน) | หน่วยละ | 6.3434 | บาท |
หมายเหตุ
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ใช้อัตราประเภทนี้ หากประสงค์จะขอเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็นการถาวรหรือ การไฟฟ้านครหลวงตรวจพบว่าได้เปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็น การถาวรแล้ว เช่น ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม บ้านอยู่อาศัย ฯลฯ จะต้องยื่นคาร้องขอใช้ไฟฟ้าถาวรที่การไฟฟ้านครหลวงเขต พร้อมกับเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ภายในให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่การไฟฟ้านครหลวงกาหนด และชาระเงินค่าธรรมเนียมการใช้ไฟฟ้า แบบถาวรให้ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของการไฟฟ้านครหลวง โดยจะจัดเข้าในประเภทที่ 1 – 7 แล้วแต่กรณีตาม
ลักษณะการใช้ไฟฟ้า
ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า |
- อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าฐาน และ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับ
อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) โดยมีการเรียกเก็บ Ft ทุกเดือน แยกเป็นรายการในใบเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า ทั้งนี้
Ft ที่เรียกเก็บจะปรับเปลี่ยนทุกๆ 4 เดือน โดยกาหนดให้ Ft เป็นอัตราคงที่ต่อหน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า
อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เริ่มใช้ตั้งแต่ ค่าไฟฟ้าประจำเดือน มิถุนายน 2555 เป็นต้นไป
แหล่งที่มา : การไฟฟ้านครหลวง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น