ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ ทางเลือกประหยัดค่าไฟระยะยาว ให้กับบ้านชองคุณ




 ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ ทางเลือกประหยัดค่าไฟระยะยาว ให้กับบ้านชองคุณ

ตามที่เข้าใจว่าการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่แพร่หลายส่วนหนึ่งมาจากการผลักดัน และช่วยเหลือจากทางภาครัฐ ในการออกนโยบายสนับสนุนในเงินอุดหนุนของการดำเนินงานกับทางการไฟฟ้า ให้มีการช่วยซื้อไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซล่าเซลล์คืนจากภาคประชาชนที่สามารถผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ได้ ทว่าก็ต้องยอมรับว่าอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในหลายปีที่ผ่าน ทั้งหมดนั้นล้วนได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนจากรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นพลังงานจากแสงแดด พลังงานลม พลังงานน้ำ กังหันน้ำพลังงาน ฯลฯ

ทว่า ในปัจจุบันการสนับสนุนเรื่องเงินทุนไม่ได้เป็นสิ่งสำคัญที่สุดเพียงเท่านั้น แต่ต้องได้รับความร่วมมือจากฝ่ายครัวเรือน และที่พักอาศัย อาคาร สำนักงาน ฯลฯ ด้วย ในความสมัครใจที่จะลงทุนเงินเป็นจำนวนหนึ่งซึ่งมากพอสมควร เพื่อใช้ติดตั้งโซล่าเซลล์ในพื้นที่ของพวกเขา อย่างไรก็ดี ต้องยอมรับว่าต้นทุนทางพลังงานโซล่าเซลล์ถูกลงกว่าเดิมลงมาก จนกล่าวได้ว่ามีค่าใช้จ่ายน้อยกว่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งพลังงานน้ำมัน ก๊าซ ถ่านหิน ฟอสซิล เป็นอันมาก

แต่อย่างไรก็แล้วแต่ ก็มิใช่เหตุผลที่การตัดสินใจติดตั้งโซล่าเซลล์ในบ้านเรือนจะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยได้ แม้ว่าจะมีพลังงานแสงอาทิตย์แล้วก็ตามที่เข้ามาช่วยให้ใช้ไฟฟ้าได้อย่างไม่จำกัด แต่ก็ยังมีอีกหลายครัวเรือนที่ยังคงต้องพึ่งพาพลังงานหลักจากการผลิตไฟฟ้าส่วนกลาง ซึ่งจะมีแหล่งพลังงานการเผาผลาญเชื้อเพลิงจากหลายที่ด้วยกันดังเช่น น้ำมัน ถ่านหิน ฟอสซิล ฯลฯ โดยเฉพาะกับพลังงานจากฟอสซิลที่ส่งผลร้ายต่อโลกมากเป็นพิเศษ เพราะสามารถสร้างก๊าซเรือนกระจกให้แก่ชั้นบรรยากาศมากถึงร้อยละ 25 ไม่เพียงเท่านี้ เพราะผลกระทบในการผลิตพลังงานยังรวมไปถึงอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า รวมถึงระบบการขนส่งในปัจจุบัน ที่ยิ่งเวลาก้าวเลยไปการย่นระยะเวลาให้สั้นลงมากเท่าใดก็ยิ่งจะต้องสร้างมลภาวะแก่โลกมากเท่านั้น แต่อย่างไรแล้วก็ต้องยอมรับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะมีส่วนช่วยส่งเสริมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้ดีมากขึ้นเท่าทวี แล้วสิ่งที่จะมาทดแทนการใช้พลังงานในการขับเคลื่อนโลกได้ดีไปกว่าพลังงานเหล่านี้ ก็คงจะหนีไม่พ้นพลังงานจากธรรมชาติซึ่งสามารถนำมาหมุนเวียนได้ไม่รู้จบ และไม่มีวันหมดไปในเร็ววันนี้อย่างพลังงานแสงอาทิตย์ ‘โซล่าเซลล์’ คงเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่ดีในบรรดาพลังงานทดแทนทั้งหลายในปัจจุบัน

ดูเหมือนว่า ในแง่ของการใช้พลังงานที่ดึงจากทรัพยากรโลกกำลังผันแปร จากพลังงานซึ่งเป็นทรัพยากรอันมีค่าของโลกใบนี้ ไปสู่การสรรหาพลังงานอื่นมาเป็นพลังงานทดแทนพลังงานหลัก ที่ยั่งยืนกว่าและทำร้ายโลกน้อยมากกว่าการเสาะหาพลังงานธรรมชาติ อย่างเช่น น้ำมัน แร่ธาตุ ถ่านหิน ฯลฯ มาใช้ ส่วนในเรื่องของการดำเนินการเพื่อการเปลี่ยนแปลงและลดใช้ทรัพยากรโลก ด้วยการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ผ่านแผงโซล่าเซลล์ รวมทั้งพลังงานที่ขับเคลื่อนโดย ไฟฟ้าโซล่าเซลล์ ได้ด้วยเช่นกัน ได้แก่ พลังงานลม และน้ำ เป็นต้น

นอกจากนี้ หากลดใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติจะช่วยชะลอการหายไปของทรัพยากรที่นำมาสร้างไฟฟ้าได้ให้ยังคงอยู่เพื่อลูกหลานต่อไป ในการหยิบยืมมาใช้เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้ในภายภาคหน้าต่อไปได้ดีที่สุด

รวมไปถึง เรื่องของหายนะทางพลังงานธรรมชาติที่เกิดต่อโลก ภัยธรรมชาติในรูปแบบต่าง ๆ ก็เป็นผลมาจากทรัพยากรทางธรรมชาติที่ลดน้อยลง เนื่องจากทุกสิ่งล้วนเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน จนก่อเกิดเป็นโลก (Earth) ที่ให้เราได้อาศัยอยู่ใบนี้

เหนือสิ่งอื่นใด สิ่งที่ส่งผลกระทบที่สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน คือปัญหามลภาวะทางอากาศที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ โดยเฉพาะในประเทศไทยซึ่งนอกจากปัญหาทางอากาศแล้ว สิ่งที่เป็นต้นตอของมลภาวะทางอากาศ นอกจากเรื่องของทรัพยากรลดน้อยลง ก็มาจากปัญหาการจราจรติดขัด ที่เกี่ยวโยงกับการใช้น้ำมันอันเป็นเชื้อเพลิงทางพลังงานหนึ่งที่สำคัญต่อโลกเป็นอย่างยิ่งโดยตรง

ด้วยอะไรหลาย ๆ อย่างจึงทำให้การติดตั้งโซล่าเซลล์เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งในต่างประเทศที่มีอัตราการเพิ่มอย่างก้าวกระโดด ส่วนประเทศไทยเองก็ยังคงครองความนิยมไม่น้อย ดูได้จากปัจจุบันที่มีคนหันมาทำงานด้านนี้กันอย่างจริงจัง และมีบริการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์แบบครบวงจรให้ได้เลือกใช้บริการมากมาย

เหนือไปกว่านั้นถ้าวัดจากสถิติการเพิ่มขึ้นในบ้านที่มีแผงโซล่าเซลล์บนหลังคา ปรากฏว่าได้มีอัตราการผลิตแผ่นโซล่าเซลล์เพิ่มขึ้นถึงประมาณร้อยละ 50 วัดจากทั่วโลกจะอยู่ที่ 3800 เมกะวัตต์ และมีกำลังในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มากถึง 12400 เมกะวัตต์ เรียกว่า มากพอที่จะนำไปให้คนในครัวเรือนต่าง ๆ จากทั่วโลก 2.4 ล้านหลังทั่วอเมริกา

แต่ไม่ใช่เพียงแค่หลังคาโซล่าเซลล์เท่านั้น ยังมีหนึ่งในเทคโนโลยีที่สำคัญคือ thin-film technologies ที่ได้เริ่มมีงานวิจัยและผลิตตั้งแต่ปี 2006 ที่ทำให้ต้นทุนการผลิตแผงโซล่าเซลล์ลดลงอย่างเห็นได้ชัดเลยทีเดียว ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้จึงทำให้การเข้าถึงของคนเกี่ยวกับเรื่องการผลิตพลังงานใช้เองเป็นเรื่องที่จับต้องได้มากขึ้น “ต้นทุนถูกลงการคืนทุนเร็วขึ้น” มันก็คุ้มค่าเพียงพอแล้วที่จะทำให้ผู้คนที่คิดจะสร้างบ้าน ไม่ได้คิดว่าการมีโซล่าเซลล์เอาไว้ใช้ที่บ้านเป็นเรื่องที่ดูเพ้อฝันอีกต่อไป บวกกับมีการแข็งขันกันในเรื่องของการให้บริการติดตั้งโซล่าเซลล์

เมื่อคิดถึงคุณประโยชน์ที่จะได้รับจากพลังงานทดแทนไฟฟ้า ที่สามารถผลิตได้ในครัวเรือนตรงนี้ ก็นับว่าเป็นการลงทุนที่ดีทีเดียวที่จะทำให้การติดตั้งเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้นได้ ยิ่งมีผู้เชี่ยวชาญด้านนี้มากขึ้นเท่าไหร่การเข้าถึงซึ่งพลังงานแสงอาทิตย์ของประชาชนก็ย่อมจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย บวกรวมกับการให้ความร่วมมือในการออกนโยบายที่เอื้อต่อผู้คนในการมีโซล่าเซลล์ในบ้านของตัวเองด้วยแล้ว จึงทำให้วิวัฒนาการในการเติบโตในตลาดซื้อ-ขายโซล่าเซลล์เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยอย่างเห็นได้ชัด

เหนือไปกว่านั้นถ้าวัดจากสถิติการเพิ่มขึ้นในบ้านที่มีแผงโซล่าเซลล์บนหลังคา ปรากฏว่าได้มีอัตราการผลิตแผ่นโซล่าเซลล์เพิ่มขึ้นถึงประมาณร้อยละ 50 วัดจากทั่วโลกจะอยู่ที่ 3800 เมกะวัตต์ และมีกำลังในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มากถึง 12400 เมกะวัตต์ เรียกว่า มากพอที่จะนำไปให้คนในครัวเรือนต่าง ๆ จากทั่วโลก 2.4 ล้านหลังทั่วอเมริกา



รถกอล์ฟ โซล่าเซลล์





รถกอล์ฟโซล่าเซลล์
สนใจติดต่อ...lin.ee/nZDAGlw
การนำรถกอล์ฟไฟฟ้ามาติดตั้งแผงโซล่าเซลล์บนหลังคา ช่วยให้กักเก็บพลังงานแสงอสิตย์มาเปลี่ยนเป็นพลังไฟฟ้า ใช้ในการขับเคลื่อนรถ นอกจากจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้แล้ว ยังช่วยกันลืมเวลาลืมชาร์จแบตรถอีกด้วย ไร้กังวลไปได้เลย แบตรถจะไม่หมดตามเท่านี้ยังมีพระอาทิตย์
ของดีและรักษ์โลกแบบนี้ต้องรีบมาจับจองกันด่วนเลย

🔥“ใช้แสงแดดสร้างพลังงาน ทุกที่ ทุกเวลา กันนะคะ”
🚛⚙️
#ออกแบบและติดตั้งด้วยทีมงานมืออาชีพทั้งระบบ
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 👇👇👇👇
🏭บริษัท ซันเนอร์ยี่เทคโนโลยี จำกัด
💬ปรึกษาติดตั้ง จัดส่ง..
🖱
https://lin.ee/nZDAGlw
📩Fackbook Inbox :
http://bit.ly/2vEoIeI
🔩Website :
https://www.sunnergytech.com/
☎️สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 061-545-5353, 092-248-2637
📧Line ID: @sunnergy
#ซันเนอร์ยี่ #ติดตั้งโซล่าเซลล์ #โซล่าเซลล์ #พลังงานแสงอาทิตย์ #อินเวอร์เตอร์ไฮบริด #แผงโซล่าเซลล์ติดตั้งบนหลังคารถกอล์ฟ
https://www.sunnergytech.com/
#ซันเนอร์ยี่ #ติดตั้งโซล่าเซลล์ #โซล่าเซลล์ #พลังงานแสงอาทิตย์ #หลังคารถโซล่าเซลล์ #โซล่าเซลล์รถกอล์ฟ


 


Solar Rooftop เลือกให้คุ้ม สวยงาม คุ้มค่า เข้ากับบ้านของคุณ

ความจริงแล้ว ตั้งแต่อดีตถึงแม้จนถึงทุกวันนี้ก็ตามแต่ โซล่าเซลล์ ก็ยังคงจะมีค่านิยมว่า มีไว้ให้กับบ้านที่ไฟฟ้าและน้ำประปายังเข้าไม่ถึง ด้วยรูปแบบการพึ่งพาตัวเองโดยไม่ต้องพึ่งพิงผู้ใดในการอยู่อาศัย อันจำเป็นต้องใช้พลังงานธรรมชาติอยู่ก่อนอยู่แล้ว แต่การที่โซล่าเซลล์เข้ามาบูมจนกลายเป็นที่นิยมของการสร้างค่านิยมในความอนุรักษ์และรักษาสิ่งแวดล้อมไปโดยปริยายนั้น จากความเกี่ยวโยงกันทั้งในทางตรงและทางอ้อมนี้เอง ที่ทำให้การดำเนินการเปลี่ยนระบบไฟฟ้าตามปกติมาเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถกลายเป็นค่านิยมหนึ่งที่ร่วมสร้างสังคมที่ดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนโดยไม่ไปเบียดเบียนซึ่งทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งมีชีวิตชนิดใดก็แล้วแต่ ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องพึ่งพาอาศัยเกื้อกูลกัน ต้องการซึ่งที่อยู่อาศัยบนโลกของเรา

แต่ข้อดีของ โซล่าเซลล์ นั้นยังไม่จบเพียงเท่านี้ เพราะเราสามารถเลือก ติดตั้งโซล่าเซลล์ ได้ตามความต้องการและปริมาณที่ใช้ บวกกับประเด็นที่สำคัญที่สุดอย่างเงินทุนที่บ้านแต่ละหลังหรือที่อยู่อาศัย อาคาร เพียบพร้อมพอที่จ่ายได้ แม้จะคุ้มค่าจริงอย่างที่ใคร ๆ เข้าใจกันว่าจะทดแทนในส่วนของการใช้งานไฟฟ้าได้จริง ๆ แต่ยังคงเป็นการดำเนินงานที่มีต้นทุนค่อนข้างที่จะสูงอยู่ แต่สำหรับติดตั้งโซล่าเซลล์โรงงาน โซล่าเซลล์ที่พักอาศัย บ้านเรือน หรือโซล่าเซลล์บ้านสวนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลการขอต่อไฟฟ้าจากทางส่วนกลาง อาจเป็นการใช้ต้นทุนทางการเงินมหาศาลอย่างที่อาจจะมากเสียยิ่งกว่าการยอมลงทุนติดตั้งโซล่าเซลล์เสียด้วยซ้ำ และสิ่งนี้เองที่ทำให้ โซล่าเซลล์ ได้รับความนิยมพอสมควรทีเดียว

ดังนั้น ก่อนที่จะเลือก แผงโซล่าเซลล์ มาไว้เป็น Solar Rooftop หลังคาผลิตกำลังไฟฟ้าภายในโดยไม่พึ่งพิงระบบซื้อขายภายนอก ที่อาจเทียบเท่ากับการอยู่อาศัยแบบพึ่งพาตัวเองใช้วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์จากบางสิ่งบางอย่างที่สามารถผลิตได้ด้วยตัวเอง แต่หากเหลือใช้ก็สามารถส่งออกสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ตนเองผลิตได้สู่ภายนอก โดยจำเป็นต้องมีพื้นที่เป็นของตัวเองมากอยู่สักหน่อย แต่ข้อดีของการมีพื้นที่ก็ได้เอื้อต่อการสร้างระบบพลังงานด้วยตัวเองได้อีกทางหนึ่งด้วย เพราะจะมีพื้นที่ในการตั้งวาง แผงโซล่าเซลล์ ซึ่งได้เปรียบกว่าบ้านอื่น รวมไปถึงระบบของการผลิตพลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ที่อาจจะเตรียมไว้เพื่อสลับการใช้ไฟในกรณีฉุกเฉินได้อีกหนึ่งหนทาง

หลักการ ติดตั้งโซล่าเซลล์ที่พักอาศัย จึงจะขึ้นกับปัจจัยเพียงแค่ไม่กี่อย่างเพื่อที่จะนำมาสร้างเป็นเหตุของปัจจัยที่ทำให้ลงมือ ติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อเป็นเจ้าของพลังงานตั้งแต่เริ่มต้น ด้วยเหตุผลว่า การติดตั้งหลังคาโซล่าเซลล์ คือการลงทุนที่คุ้มค่าชนิดหนึ่งในบรรดาการลงทุนชนิดไหน ที่เป็นการลงทุนเพื่อการเป็นเจ้าของบ้านสักหลัง

โดยสิ่งที่ต้องคำนึงเป็นพิเศษในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เราควรรู้ก่อนว่าจะใช้ไฟฟ้าจำนวนเท่าไหร่ ถึงจะเพียงพอต่อแผงโซล่าเซลล์จำนวนกี่แผงจึงจะสมดุลต่อระบบเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ให้เอื้อต่อความเหมาะสมที่สุดไม่ให้เกิดความเหลื่อมล้ำต่อปริมาณงบประมาณของ การติดตั้งโซล่าเซลล์ โดยจะต้องสามารถคำนวณได้ว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดใช้พลังงานเท่าใด ตามปริมาณการเปิดใช้จริงของอุปกรณ์ไฟฟ้า และหากเกิดกรณีฉุกเฉินจะมีแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจากที่ไหน ทดแทนพลังงานไฟฟ้าจาก แผงโซล่าเซลล์ ร่วมกับเครื่องมือในการสำรองไฟฟ้าเอาไว้ใช้ได้จริง ถ้าไม่ได้ใช้ระบบโซล่าเซลล์แบบจ่ายตรงผ่านอินเวอร์เตอร์โซล่าเซลล์ หรือจะปรับสมดุลของตัวแปลงกระแสไฟให้เข้าได้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ส่งตรงลงมาโดยตรงได้หรือไม่ อย่างไร

รูปแบบสำหรับติดตั้งโซล่าเซลล์ พลังงานแสงอาทิตย์จากแดด

โซล่าเซลล์ระบบอิสระเหมาะสมกับทุกพื้นที่ที่ต้องการอยากใช้ไฟฟ้าแสงอาทิตย์ให้เป็นเอกเทศ โดยที่ไม่จำเป็นต้องพึ่งพิงจากไฟฟ้าจากแหล่งไหนเลย นอกจากระบบโซล่าเซลล์ Off Grid ซึ่งถือได้ว่าเป็นระบบที่ครอบคลุมซึ่งการทำงานทุกรูปแบบที่เอื้อต่อ โซล่าเซลล์ ในการซัพพอร์ตพลังงานไฟฟ้าในบ้าน ให้เป็นไปอย่างเต็มรูปแบบมากที่สุด แต่อาจจะต้องมีค่าใช้จ่ายให้กับอุปกรณ์โซลาร์อย่างแบตเตอรี่โซล่าเซลล์ ที่ราคาค่อนข้างสูงมากทีเดียว ทั้งยังดูแลรักษายากจนอาจจะเกิดความสูญเสียพลังงานในรูปความร้อน อันจะกลายเป็นสาเหตุของประสิทธิภาพการทำงานที่ลดลงได้

แต่ก็จำเป็นต้องใช้แบตเตอรี่ Deep Cycle สำหรับ โซล่าเซลล์ โดยเฉพาะด้วย ในการทำหน้าที่เพื่อจัดเก็บพลังงานไว้ใช้ในตอนกลางคืนได้ด้วย ซึ่งควรที่จะต้องแยกแยะให้ออกว่าแบตเตอรี่คืออุปกรณ์โซลาร์สำหรับจัดเก็บพลังงานไฟฟ้าเพียงเท่านั้น แต่จะไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้เหมือนกับตัวแผงโซล่าเซลล์ นอกจากนี้ก็ยังไม่สามารถที่จะประจุไฟเข้าไปใหม่ (Recharge) หลายครั้งได้ ต้องการการดูแลรักษาที่เฉพาะเจาะจง ทั้งในเรื่องการใช้งานเก็บพลังไฟฟ้า การประจุไฟฟ้า อุณหภูมิความร้อน

               โซล่าเซลล์รูปแบบสมบูรณ์แบบมุ่งเน้นต่อการทำงาน แผงโซล่าเซลล์ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด จึงจะทำให้จำเป็นต้องมีอุปกรณ์มาช่วยเสริมเพื่อเพิ่มเติมรูปแบบในการผลิตไฟฟ้าและกักเก็บพลังงานอย่างเต็มรูปแบบ โดยจะมีทั้งไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ และไฟฟ้าจากส่วนภูมิภาคตามแต่ละพื้นที่ให้ยังคงอยู่โดยไม่ตัดออก ถ้าหากตัดไฟฟ้าจากหน่วยงานออกไปโดยทั่วไปแล้ว โซล่าเซลล์ จะไม่ทำงานในช่วงที่ไม่มีแสงแดด ที่ไว้สำผลิตพลังงานไฟฟ้าจากโดยเฉพาะไม่ว่าจะเป็นแสงในรูปแบบที่มองเห็น หรือแสงน้อยที่มองไม่เห็นแต่ยังคงมีกำลังความร้อนอยู่ภายในตัวที่ โซล่าเซลล์ สามารถกักเก็บเอาไว้ใช้ได้ ดังนั้น โซล่าเซลล์ รูปแบบรับไฟฟ้าแบบ 2 ทาง Hybrid Solar Cell จึงรองรับการทำงานของไฟฟ้าได้ทั้งหมด ประกอบไปด้วยไฟฟ้าที่ต้องจ่ายตังค์ กับไฟฟ้าฟรีจากแสงแดด แต่ข้อดีก็คือสามารถจ่ายไฟฟ้าให้ใช้ในบ้านได้ตลอด 24 ชม.พร้อมกับมีแบตเตอรี่ในการเก็บสำรองไฟได้ ซึ่งนอกจากไฟฟ้าที่ถูกประจุเข้าแบตเตอรี่แล้ว ถ้ามีไฟฟ้าเหลือก็ยังสามารถส่งออกขายต่อไฟฟ้าตามระบบในรูปแบบที่ทางรัฐบาลกำหนด ในอัตรารับซื้อไฟที่เปลี่ยนแปลงตามทิศทางพลังงาน

ส่วนระบบโซล่าเซลล์ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดนั้นจะเป็นรูปแบบขั้นพื้นฐานที่ไม่ซับซ้อน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ค่าใช้จ่ายของ การติดตั้งโซล่าเซลล์กับอุปกรณ์พ่วงแผงโซล่าเซลล์ มีอัตราน้อยกว่าระบบโซล่าเซลล์อื่น เพราะใช้อุปกรณ์ไม่เยอะเท่าไหร่นัก ก็สามารถที่จะรันให้การทำงานของแผงดำเนินต่อไปได้ และด้วยการที่ไม่ต้องนำระบบไฟฟ้าเก่าออกอันจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการจดแจ้งเพื่อยกเลิกมิตเตอร์ไฟ แต่ก็ยังคงมีเรื่องของการจำหน่ายไฟส่งเข้าสู่สายส่งของทางการที่ต้องดำเนินการขออนุญาตหรืออาจขอจดแจ้งผ่านทางอินเตอร์เน็ต เพราะระบบนี้จะไม่มีแบตเตอรี่สำรองไฟที่พักอาศัยจึงต้องส่งจ่ายไฟเข้าสายส่ง เพราะถ้าหากไฟเกินก็อาจที่จะเกิดเหตุอันตรายขึ้นมาได้ ถือว่าเป็นรูปแบบหลังคาโซลาร์รูฟท็อป Solar Rooftop ที่มีการออกนโยบายออกมาเพื่อรองรับกับโซลาร์ภาคประชาชนโดยรัฐบาล ที่มุ่งเน้นในจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่แนวคิดพลังงานหมุนเวียนให้กับที่อยู่อาศัย เป็นรูปแบบการใช้พลังงานทดแทนอย่างหนึ่งที่สามารถลดใช้ไฟฟ้า รวมไปถึงค่าใช้จ่ายใช้ไฟปัจจุบันของบ้านให้ลดลงได้อย่างยั่งยืน

นอกจาก โซล่าเซลล์ ระบบช่วยลดค่าไฟทั้งหลายที่สามารถเลือกติดตั้ง หลังคาโซล่าเซลล์ ได้ตามความต้องการไฟฟ้า แผ่นโซลาร์แสงอาทิตย์ยังมีส่วนช่วยในเรื่องของระบบน้ำ เหมาะกับชุมชนห่างไกลที่ยังไม่รองรับระบบน้ำประปาอย่างเต็มรูปแบบ ก็สามารถเลือกติดตั้งระบบโซล่าปั๊ม ในการทำงานของเครื่องสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ได้ อันจะประกอบไปด้วย ปั๊มน้ำบาดาล ปั๊มน้ำผิวดิน และโซลาร์ปั๊มจากแสงแดด และยังสะดวกแก่การเข้าถึงโซล่าเซลล์ได้อีก ในเรื่องของการติดต่อกับผู้ติดตั้งโซล่าเซลล์ได้ครบวงจรการทำงาน เพราะว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ให้บริการติดตั้งโซลาร์ พลังงานแสงอาทิตย์แต่ละเจ้า จะครอบคลุมเอาการทำงานของระบบโซล่าปั๊มพลังงานแสงอาทิตย์ กับระบบโซลาร์หลังคาบ้าน Solar Rooftop ไว้ด้วยกันเพื่อความสะดวกสบายแก่ผู้ที่สนใจ แล้วยังเหมาะกับการติดตั้งโซล่าเซลล์โรงงาน โซล่าเซลล์บ้านสวน หรืองานด้านเกษตรกรรม อันจะทำให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้จากการตัดค่าใช้จ่ายใช้ไฟฟ้าออกไปได้อย่างสิ้นเชิงอีกด้วย

ก่อนติดตั้งโซล่าเซลล์เราควรจะทราบอัตราค่าไฟฟ้าแบ่งตามประเภทการใช้งาน


 


อัตราค่าไฟฟ้า 

ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย 
ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก 
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง 
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ 
ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง 
ประเภทที่ 6 ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร 
ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร 
ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว 
ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า ของ กฟภ.

ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย วัดและโบสถ์ของศาสนาต่าง ๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

 อัตรารายเดือน
             ค่าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15)  หน่วยละ 1.8632 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.5026 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35)  หน่วยละ 2.7549 บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100)  หน่วยละ 3.1381 บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150)  หน่วยละ 3.2315 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)  หน่วยละ 3.7362 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)  หน่วยละ 3.9361 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) :  8.19

1.2 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน

 อัตรารายเดือน
             ค่าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15)  หน่วยละ 1.8632 บาท
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150)  หน่วยละ 2.7628 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400)  หน่วยละ 3.7362 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)  หน่วยละ 3.9361 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) :  38.22

1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

 อัตรารายเดือน
             ค่าพลังงานไฟฟ้า
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
 ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
 On Peak Off Peak
1.3.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์   4.5827 2.1495 312.24
1.3.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์   5.2674  2.1827   38.22
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.1 แต่ถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน ติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.2 และถ้ามีการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือนติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 1.1 ตามเดิม
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ ขนาดเกินกว่า 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย จะถูกจัดให้อยู่ในอัตราข้อ 1.2 ตลอดไป
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถเลือกใช้อัตราข้อ 1.3 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือ ชาระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราเดิมได้
  4. สถานที่ที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่ 6 ได้
  5. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
  6. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 (ประเภทที่ 1 อัตราข้อ 1.1) ซึ่งติดตั้งเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า ขนาดไม่เกิน 5(15)แอมแปร์ และใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับค่าไฟฟ้าฟรีทั้งหมดในเดือนนั้น
 

  ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับที่อยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สำนักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หรืออื่นๆ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

2.1 อัตราปกติ

 อัตรารายเดือนค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
2.1.1 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์  3.4230312.24
2.1.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์   46.16
150 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 150) 2.7628 
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 3.7362 
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 3.9361 

2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

 อัตรารายเดือนค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย)ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak
2.2.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์  4.5827  2.1495 312.24
2.2.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์   5.26742.1827  46.16
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 2 นี้ หากในรอบเดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30กิโลวัตต์ขึ้นไป จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 อัตราข้อ 3.2 ประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 หรือประเภทที่ 5 อัตราข้อ 5.2 แล้วแต่กรณี และจะจัดเข้ามาอยู่ในประเภทที่ 2 ต่อเมื่อความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวลดลงต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12 เดือน
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 2.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 2.2 ได้ โดยจะต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน หรือ ชาระค่าบริการด้านเครื่องวัดฯ TOU เพิ่มขึ้นจากค่าบริการปกติ และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 2.1 ตามเดิมได้
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า

ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติและสถานที่ทางการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 30 ถึง 999
กิโลวัตต์ และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน ไม่เกิน 250,000 หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

3.1 อัตราปกติ

 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
 ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
3.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 
 175.70 2.6506  312.24 
3.1.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์  196.262.6880312.24
3.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์  221.50 2.7160312.24

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

3.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU)

 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On PeakOff Peak On PeakOff Peak
3.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป  
   74.14   0 3.5982 2.1572312.24
3.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์    132.93 03.67962.1760312.24
3.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ 210.00 0 3.8254 312.24 2.2092 
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 3.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 3.1 สาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 3 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 3.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 หากมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป ในเดือนใด หรือมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะถูกจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 3.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 3.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้
  4. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 3.2 เมื่อมีความต้องการพลังไฟฟ้าดังกล่าวตั้งแต่ 30 ถึง 999 กิโลวัตต์
  5. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย

  ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ อุตสาหกรรม หน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการของต่างชาติ และสถานที่ทาการขององค์การระหว่างประเทศ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือ มีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 3 เดือน เกินกว่า 250,000หน่วยต่อเดือน โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Tariff : TOD Tariff)

  อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์)ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน) 
On PeakPartial PeakOff Peak
4.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 
224.3029.9102.6506312.24 
4.1.2 แรงดัน 12 - 24 กิโลโวลต์ 285.0558.880 2.6880 312.24 
4.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์332.7168.220 2.7160 312.24
On Peak : เวลา 18.30 - 21.30 น.
Partial Peak : เวลา 08.00 - 18.30 น.ของทุกวัน คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าเฉพาะส่วนที่เกินจากช่วง On Peak
Off Peak : เวลา 21.30 - 08.00 น. ข องทุกวัน ไม่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
 

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

4.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On Peak Off PeakPeakOff Peak
4.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 
  74.14 0 3.5982 2.1572312.24
4.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 132.93 0 3.6796 2.1760312.24
4.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ 210.00 03.82542.2092312.24
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่อยู่ในอัตราข้อ 4.1 ซึ่งใช้ไฟฟ้าก่อนเดือนตุลาคม 2543 จะยังคงถูกจัดอยู่ในอัตราข้อ 4.1
    สาหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่จัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 จะถูกจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 4.2 ใน
    เดือนถัดไป หลังจากเดือนที่ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 4.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 4.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับ
    การไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน ทั้งนี้หากเลือกใช้แล้วจะกลับไปใช้อัตราเดิมไม่ได้
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา
    12 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2
  4. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย

 ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง 

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบกิจการโรงแรมและกิจการให้เช่าพักอาศัย ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

5.1 อัตราปกติ

  อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
5.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป  
220.56 2.6506 312.24
5.1.2 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์  256.07  2.6880 312.24
5.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์   276.642.7160312.24

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

5.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( Time of Use Tariff : TOU Tariff)


 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On Peak Off PeakPeakOff Peak
5.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 
  74.140  3.5982 2.1572 312.24
5.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์ 132.930 3.67962.1760 312.24
5.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์  210.0003.82542.2092 312.24
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา
ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
      สำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีเพาเวอร์แฟคเตอร์ (Lagging) ถ้าในรอบเดือนใดผู้ใช้ไฟฟ้ามีความต้องการพลังไฟฟ้า รีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวาร์ เกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว เฉพาะส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ละ 56.07 บาท สาหรับการเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้าในรอบเดือนนั้น เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ ให้ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์

หมายเหตุ 

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 5 จะจัดเข้าอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เท่านั้น ในช่วงที่ยังไม่ได้ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU อนุโลมให้
    คิดค่าไฟฟ้าในอัตราข้อ 5.1 ไปพลางก่อน
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ต่ากว่า 30 กิโลวัตต์ ติดต่อกันเป็นเวลา 12
    เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 2 และจะจัดเข้ามาอยู่ในอัตราข้อ 5.2 เมื่อมีความต้องการ
    พลังไฟฟ้าดังกล่าว ตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย

  ประเภทที่ 6 ส่วนราชการ และองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าขององค์กรที่มีวัตถุประสงค์ในการให้บริการโดยไม่คิดค่าตอบแทน รวมถึงสถานที่ที่ใช้ในการประกอบศาสนกิจ ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียวแต่ไม่รวมถึงหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สถานที่ทาการเกี่ยวกับกิจการ
ของต่างชาติ และสถานที่ทาการขององค์การระหว่างประเทศ

6.1 อัตราปกติ

  อัตรารายเดือนค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
6.1.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป  
2.9558312.24
6.1.2 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์  3.1258 312.24
6.1.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์    20.00
10 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-10) 2.3422 
เกินกว่า 10 หน่วย (หน่วยที่ 11 เป็นต้นไป) 3.4328 

6.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)

 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On Peak Off PeakPeakOff Peak
6.2.1 แรงดัน 69 กิโลโวลต์ขึ้นไป 
 74.140   3.5982   2.1572  312.24
6.2.2 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์132.930 3.67962.1760 312.24
6.2.3 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์210.0003.82542.2092 312.24
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 6.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 6.1 ตามเดิมได้
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.1 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 6.2 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย
  3. สาหรับการใช้ไฟฟ้าของหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง อนุโลมให้ จัดอยู่ประเภทที่ 6 จนถึงค่าไฟฟ้าประจาเดือนกันยายน 2555 หากผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุด ตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือมีปริมาณพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยย้อนหลัง 3 เดือน เกินกว่า 250,000 หน่วยต่อเดือน จะจัดเข้าอยู่ในประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 ในเดือนถัดไป หลังจากเดือนที่
    ติดตั้งเครื่องวัดฯ TOU แล้ว และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจาเดือนตุลาคม 2555 เป็นต้นไป จะจัดเข้าในประเภทที่2 หรือประเภทที่ 3 อัตราข้อ 3.2 หรือประเภทที่ 4 อัตราข้อ 4.2 แล้วแต่กรณี ตามลักษณะการใช้ไฟฟ้า

  ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้ากับเครื่องสูบน้าเพื่อการเกษตรของหน่วยราชการ สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มเกษตรกรที่ทางราชการรับรอง หรือสหกรณ์เพื่อการเกษตรโดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

7.1 อัตราปกติ

 อัตรารายเดือนค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
 100 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1-100)
  1.6033
เกินกว่า 100 หน่วย (หน่วยที่ 101 เป็นต้นไป)  2.7549
ค่าบริการ (บาท/เดือน) :  115.16

7.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff)


 อัตรารายเดือนค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
(บาท/กิโลวัตต์)
ค่าพลังงานไฟฟ้า
(บาท/หน่วย)
ค่าบริการ
(บาท/เดือน)
On Peak Off PeakPeakOff Peak
7.2.1 แรงดัน 12-24 กิโลโวลต์   
132.930   3.6531   2.1495  228.17
7.2.2 แรงดันต่ากว่า 12 กิโลโวลต์ 210.000 3.79892.1827 228.17
On Peak : เวลา 09.00 - 22.00 น.  วันจันทร์ - วันศุกร์
Off Peak : เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
     : เวลา 00.00 - 24.00 น.  วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

ความต้องการพลังไฟฟ้า : ความต้องการพลังไฟฟ้าแต่ละเดือน คือ ความต้องการพลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ เฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดในรอบเดือน เศษของกิโลวัตต์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวัตต์ ให้ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวัตต์ขึ้นไป คิดเป็น 1 กิโลวัตต์
ค่าไฟฟ้าต่าสุด : ค่าไฟฟ้าต่าสุดในแต่ละเดือนต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ของค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (Demand Charge) ที่สูงสุดในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา

หมายเหตุ

  1. ผู้ใช้ไฟฟ้าต้องมีเครื่องสูบน้าที่มีแรงม้ารวมกันไม่ต่ากว่า 25 แรงม้า และต้องทาสัญญากับการไฟฟ้านครหลวงก่อน
  2. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 สามารถเลือกใช้อัตราข้อ 7.2 ได้ โดยต้องแจ้งความประสงค์กับการไฟฟ้านครหลวง และชาระค่าเครื่องวัดฯ TOU ก่อน และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนสามารถขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราข้อ 7.1 ตามเดิมได้
  3. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.1 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ไม่มีการใช้ไฟฟ้า
  4. ผู้ใช้ไฟฟ้าในอัตราข้อ 7.2 ต้องชาระค่าบริการรายเดือน เพิ่มจากค่าไฟฟ้าต่าสุดด้วย

  ประเภทที่ 8 ไฟฟ้าชั่วคราว

ลักษณะการใช้ สาหรับการใช้ไฟฟ้าชั่วคราว เพื่อใช้ในการก่อสร้างอาคารทั่วไป หรือสิ่งปลูกสร้าง การจัดงานขึ้น เป็นกรณีพิเศษชั่วคราว หรือการใช้ในกรณีต่างๆ เป็นการชั่วคราว โดยต่อผ่านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าเครื่องเดียว

ค่าพลังงานไฟฟ้า (ทุกระดับแรงดัน)หน่วยละ6.3434บาท

หมายเหตุ

ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ใช้อัตราประเภทนี้ หากประสงค์จะขอเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็นการถาวรหรือ การไฟฟ้านครหลวงตรวจพบว่าได้เปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ไฟฟ้าเป็น การถาวรแล้ว เช่น ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม บ้านอยู่อาศัย ฯลฯ จะต้องยื่นคาร้องขอใช้ไฟฟ้าถาวรที่การไฟฟ้านครหลวงเขต พร้อมกับเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ภายในให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่การไฟฟ้านครหลวงกาหนด และชาระเงินค่าธรรมเนียมการใช้ไฟฟ้า แบบถาวรให้ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของการไฟฟ้านครหลวง โดยจะจัดเข้าในประเภทที่ 1 – 7 แล้วแต่กรณีตาม
ลักษณะการใช้ไฟฟ้า

  ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า  

  1. อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
     
  2. ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าฐาน และ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับ
    อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) โดยมีการเรียกเก็บ Ft ทุกเดือน แยกเป็นรายการในใบเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า ทั้งนี้
    Ft ที่เรียกเก็บจะปรับเปลี่ยนทุกๆ 4 เดือน โดยกาหนดให้ Ft เป็นอัตราคงที่ต่อหน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า
          

 อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เริ่มใช้ตั้งแต่ ค่าไฟฟ้าประจำเดือน มิถุนายน 2555 เป็นต้นไป

แหล่งที่มา : การไฟฟ้านครหลวง